tips-health

#24gel #gelplus #healthyfood #healthyeating #healthy #food #howto #drink #สุขภาพดี #ผู้สูงอายุ #อาหารเสริม #dessert

tips-health

ยาล้างไต!? กินแล้วไม่ต้องฟอกเลือด ฟอกไต ช่วยขับสารพิษ ล้างไตจริงหรือ?

ยาล้างไต: ที่บางคนเชื่อว่ากินแล้วช่วยล้างสารพิษในไต หรือไม่ต้องฟอกไตนั้น ไม่เป็นความจริง โดยทั่วไปยาเหล่านี้คือ ยาฟีนาโซไพริดีน ซึ่งมีคุณสมบัติ: ใช้สำหรับ บรรเทาอาการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ กระตุ้นการขับปัสสาวะ ลักษณะสำคัญของยา: มักเติมสารให้สี เช่น เมทิลีนบลู ทำให้ปัสสาวะมีสีเขียวหรือน้ำเงิน ไม่ได้ช่วยล้างสารพิษในไต หรือทำให้ไตกลับมาทำงานปกติ ข้อควรระวัง: ห้ามใช้ในผู้ป่วยไตบกพร่องรุนแรง: อาจทำให้ไตแย่ลง […]

tips-health

ผลไม้ น้ำตาลสูง ที่โรคเบาหวานต้องระวัง

1. กลุ่มผลไม้ลูกใหญ่: ขนุน ทุเรียนแนะนำให้รับประทานในปริมาณน้อย ๆ เพราะมีน้ำตาลสูง 2. กลุ่มผลไม้เป็นพวงหรือเป็นลูกเล็ก: ลำไย ลิ้นจี่กลุ่มนี้มีน้ำตาลค่อนข้างสูง ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดปริมาณ 3. กลุ่มผลไม้ลูกเล็ก แต่หวานจัด: มะม่วงสุก น้อยหน่าสามารถสัมผัสรสหวานได้ชัดเจน ควรหลีกเลี่ยงหรือรับประทานน้อยมาก 4. กลุ่มผลไม้ลูกยาว: มะขามหวาน

tips-health

ขนมหวาน กับคนที่เป็นโรคไต ทานได้

  ขนมหวานที่คนเป็นโรคไตสามารถทานได้ (ในปริมาณที่เหมาะสม) ขนมชั้น ทานได้ 1-2 ชิ้นเล็กๆ หลีกเลี่ยงการทานในปริมาณมาก เนื่องจากมีส่วนผสมของน้ำตาล เฉาก๊วย ทานได้ 1 ถ้วยเล็กๆ แนะนำให้เน้นทาน เฉพาะเนื้อเฉาก๊วย เนื่องจากน้ำเชื่อมมีปริมาณน้ำตาลสูง ซาหริ่ม ทานได้ 1 ถ้วยเล็กๆ

tips-health

โรคงูสวัดเกิดจากอะไร?

โรคงูสวัด (Shingles) สาเหตุ โรคงูสวัดเกิดจากการติดเชื้อไวรัส วาริเซลลา ซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus) ซึ่งเป็นไวรัสชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิด โรคอีสุกอีใส เชื้อไวรัสจะซ่อนตัวในปมประสาทหลังจากเป็นอีสุกอีใสแล้ว และอาจกลับมาทำให้เกิดงูสวัดเมื่อภูมิคุ้มกันลดลง ปัจจัยเสี่ยง ภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น ผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยมะเร็ง, ผู้ติดเชื้อ HIV

tips-health

โซดามินต์รักษา โรคไตหรือโรคเก๊าท์ได้หรือไม่!?

โซดามินต์ (Sodamint) กับการดูแลสุขภาพ ประโยชน์ของโซดามินต์ เป็นชื่อทางการค้าของ โซเดียมไบคาร์บอเนต ช่วยปรับสมดุลกรด-ด่างในเลือด เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มี ภาวะเลือดเป็นกรด โดยเฉพาะในผู้ป่วย โรคไตเรื้อรัง การใช้โซดามินต์ในโรคเก๊าท์ อาจช่วยลดความเสี่ยงของการเกิด นิ่วยูริก ในปัสสาวะโดยการปรับค่า pH ให้เป็นด่าง แต่หากปัสสาวะด่างเกินไป อาจเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด นิ่วชนิดอื่น

tips-health

ภาวะไขมันในเลือดสูง (Hyperlipidemia)

ลักษณะของภาวะไขมันในเลือดสูง โคเลสเตอรอล (Cholesterol) และ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) ในเลือดสูงเกินมาตรฐาน เมื่อสะสมเป็นเวลานาน อาจทำให้เกิด: ความดันโลหิตสูง อาการวิงเวียนศีรษะ, ปวดหัวบ่อย โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ภาวะ อัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต สาเหตุของไขมันในเลือดสูง พันธุกรรม: ภาวะไขมันสูงที่ถ่ายทอดจากครอบครัว

tips-health

โรคเก๊าท์ กรดยูริกในเลือดเกิน 7 มก./ดล.

สาเหตุและการสะสมของกรดยูริก กรดยูริกในเลือดสูงกว่า 7 มก./ดล. สะสมเป็นเวลานาน ทำให้ กรดยูริกตกตะกอน ในข้อและเนื้อเยื่อ ส่งผลให้เกิด การอักเสบ, บวม, และแดง อาหารที่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเก๊าท์ อาหารกลุ่มพิวรีนสูง: ยอดผัก สัตว์ปีก เนื้อแดง (หมู, วัว, ควาย)

tips-health

ไทรอยด์เป็นพิษ ภัยเงียบที่ทำลายร่างกายทั้งระบบ

ชนิดของไทรอยด์เป็นพิษ ไฮเปอร์ไทรอยด์ (Hyperthyroidism) ลักษณะอาการ: น้ำหนักลดลง ขี้ร้อน, เหงื่อออกมาก เหนื่อยง่าย, ขาดสมาธิ, ความจำไม่ดี มีประจำเดือนน้อยลง ผมร่วง, มือสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ตาโปน, ต่อมไทรอยด์โต ท้องเสีย ไฮโปไทรอยด์ (Hypothyroidism) ลักษณะอาการ:

tips-health

สัญญาณเตือน โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน และแบบเรื้อรัง

สัญญาณเตือนโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. โรคหัวใจขาดเลือดแบบเรื้อรัง อาการ: แน่นหน้าอก โดยเฉพาะขณะออกแรง เวลาเดินไกลหรือขึ้นบันได อาการจะรุนแรงขึ้น ลักษณะการเกิด: เกิดขึ้นเรื่อยๆ และค่อยๆ มีอาการรุนแรงมากขึ้น 2. โรคหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน อาการ: เจ็บแน่นหน้าอกอย่างรุนแรง เหงื่อออกทั่วร่างกาย วูบ หมดสติ หัวใจหยุดเต้น

Shopping Cart