tips-health

#24gel #gelplus #healthyfood #healthyeating #healthy #food #howto #drink #สุขภาพดี #ผู้สูงอายุ #อาหารเสริม #dessert

tips-health

โรคไขมันสูง ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม

โรคไขมันสูง ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม ⚠️ 🔸 อาการเริ่มต้น (มักไม่มีอาการชัดเจน)✅ ปวดแน่นหน้าอก✅ เหนื่อยง่าย หอบ✅ เวียนศีรษะ✅ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว✅ ชาปลายมือปลายเท้า 🔸 วิธีลดไขมันในเลือด ✔ พบแพทย์ ตรวจระดับไขมันในเลือด✔ ควบคุมอาหาร ลดไขมันอิ่มตัว […]

tips-health

น้ำผึ้ง ทำให้ไตรกลีเซอไรด์สูง จริงหรือ?

น้ำผึ้ง ทำให้ไตรกลีเซอไรด์สูง จริงหรือ? 🍯 🔸 ส่วนประกอบของน้ำผึ้ง น้ำตาลฟรุกโตส 35-40% กลูโคส 30-35% ซูโครส เล็กน้อย 🔸 ผลกระทบต่อร่างกาย✅ น้ำตาลฟรุกโตส หากได้รับมากเกินไป อาจเพิ่มระดับ ไตรกลีเซอไรด์ ในเลือด✅ ไตรกลีเซอไรด์สูงเป็นปัจจัยเสี่ยงของ

tips-health

3 สิ่งที่ควรทำเมื่อหมอบอกว่าเป็นไตเสื่อมเรื้อรัง

⚠️3 สิ่งที่ควรทำเมื่อหมอบอกว่าเป็นไตเสื่อม⚠️ การได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเสื่อมเรื้อรังอาจทำให้หลายคนรู้สึกกังวลและไม่แน่ใจว่าจะต้องทำอย่างไรต่อไป เพื่อช่วยให้คุณรับมือกับสถานการณ์นี้ได้ดีขึ้น ต่อไปนี้คือ 3 สิ่งที่ควรทำเมื่อหมอบอกว่าเป็นไตเสื่อมเรื้อรัง . 🧘‍ 1.ตั้งสติให้ดี และสอบถามแพทย์เกี่ยวกับระยะของโรคไต เมื่อทราบว่าตนเองเป็นโรคไตเสื่อมเรื้อรัง สิ่งแรกที่ควรทำคือตั้งสติให้ดี และสอบถามแพทย์เกี่ยวกับระยะของโรคไต ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระยะตามค่าการทำงานของไต (eGFR) ดังนี้ -ระยะ

tips-health

ค่าครีเอตินินบอกอะไร?

⚠️ค่าครีเอตินินบอกอะไร⚠️ ครีเอตินิน (Creatinine) เป็นค่าที่ใช้วัดประสิทธิภาพการทำงานของไต 🔎 แม่นยำที่สุดในตอนนี้ เพราะเกิดจากกระบวนการเผาผลาญของกล้ามเนื้อ รวมถึง กล้ามเนื้อหัวใจ ❤️ และถูกขับออกทางไตเท่านั้น ไม่ได้รับผลกระทบจากอาหารหรือตับ 🚫 . ✅ คนปกติ : ร่างกายผลิตครีเอตินิน 100% และขับออกได้

tips-health

4 เครื่องดื่มที่คนเป็นโรคไตดื่มได้

4 เครื่องดื่มที่คนเป็นโรคไตดื่มได้ น้ำขิง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความดันโลหิต และไขมันในเลือด คำแนะนำ: ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว โดยเฉพาะในระยะฟอกไตควรจำกัดปริมาณ น้ำเต้าหู้หรือนมถั่วเหลือง ฟอสฟอรัสต่ำกว่านมวัว 4 เท่า และโปรตีนต่ำกว่า 2 เท่า คำแนะนำ: ทำแบบสดเอง ไม่เติมน้ำตาลหรือเครื่องเคียง ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว

tips-health

กินยาเบาหวาน ทำให้ไตวาย จริงหรือ?

กินยาเบาหวานทำให้ไตวาย จริงหรือ? คำตอบ: ไม่จริง การรับประทานยาเบาหวานไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคไตวาย สาเหตุของไตวายในผู้ป่วยเบาหวาน เกิดจาก โรคเบาหวานเอง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงนานเกินไป ทำให้หลอดเลือดในไตเสียหาย ส่งผลให้เกิด โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic Nephropathy) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของไตวายในผู้ป่วยเบาหวาน ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับยาเบาหวาน หยุดยาเองเพราะกลัวไตวาย ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างควบคุมไม่ได้ เกิดอาการแทรกซ้อน

tips-health

วิธีป้องกัน ก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน

วิธีป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น ควรปฏิบัติตามคำแนะนำดังนี้: 1. ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ 1.1 ตรวจตา (เบาหวานขึ้นตา) แนะนำ: ตรวจตากับจักษุแพทย์อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เพื่อตรวจหาสัญญาณเริ่มต้นของ เบาหวานขึ้นจอประสาทตา 1.2 ตรวจไต (เบาหวานลงไต) แนะนำ: ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินโปรตีนรั่วในไต

tips-health

ปัสสาวะบ่อยเกิดจากอะไร อันตรายไหม?

ความถี่ในการปัสสาวะที่ปกติ ใน 1 วัน คนทั่วไปจะปัสสาวะไม่เกิน 8 ครั้ง สาเหตุของการปัสสาวะบ่อย 1. ปัสสาวะบ่อยจากปริมาณน้ำปัสสาวะมากกว่าปกติ การดื่มน้ำมากเกินไป โรคประจำตัว เช่น โรคเบาจืด โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง ผลข้างเคียงจากยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยารักษาโรคเบาหวานบางประเภท

tips-health

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ทับเส้นประสาท

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ทับเส้นประสาท อาการที่พบบ่อย ปวดหลังร้าวลงขา หรือปวดคอร้าวลงแขน อาการ ชา และ อ่อนแรง การลุก นั่ง หรือเดินลำบาก วิธีการปรับพฤติกรรมเพื่อบรรเทาอาการ นั่งหลังตรง และพักยืดเหยียดเป็นระยะ หลีกเลี่ยงการ นั่งในท่าเดิมนานๆ ไม่ยกของหนัก หรือทำท่าก้มเงยบ่อยๆ ระมัดระวังการเกิด

tips-health

โรคสะเก็ดเงิน แม้จะรักษาไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมอาการได้

โรคสะเก็ดเงิน โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง ที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน แม้จะรักษาไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมอาการได้ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ งดดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ พักผ่อนให้เพียงพอ ลดความเครียด อาการทั่วไปของโรคสะเก็ดเงิน ปวดแสบปวดร้อน บริเวณผิวหนัง ผิวแดงและเป็นรอยขุยสีขาว ผิวแห้งจนแตกและอาจมีเลือดออก เล็บผิดรูป หนาและเปราะ

Shopping Cart