Health-articles

Health-articles

EP.94 – โอวัลตินกับไมโล ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงหรือไม่

โรคไตกับการทานโอวัลติน/ไมโล สามารถทานได้ในกรณีไหน? ระยะที่ 1-2:สามารถทานได้บ้าง แต่ ไม่ควรทานทุกวัน ระยะที่ 3-5:ควรหลีกเลี่ยง เนื่องจากไตทำงานลดลง การกำจัดฟอสฟอรัสและแร่ธาตุอื่นๆ ไม่ดี เหตุผลที่ควรระวัง ฟอสฟอรัสสูง เครื่องดื่มโอวัลติน/ไมโลมีฟอสฟอรัส ซึ่งอาจทำให้ระดับฟอสฟอรัสในเลือดสูงเกินไป หากฟอสฟอรัสสะสมมาก ร่างกายจะดึงแคลเซียมจากกระดูก ทำให้เกิด กระดูกเปราะ หรือ […]

Health-articles

EP.93 – โรคไต ระยะ 3B 4 5 ทานเห็ด อย่างไรให้ปลอดภัย

1. เห็ดที่ทานได้ปลอดภัย (โพแทสเซียมต่ำ) โรคไตทุกระยะสามารถทานได้ เช่น: เห็ดหูหนูดำ เห็ดหูหนูขาว 2. เห็ดที่ควรจำกัดปริมาณ (โพแทสเซียมปานกลาง) สามารถทานได้ แต่ต้องจำกัดไม่เกิน ครึ่งถึงหนึ่งทัพพีต่อครั้ง เช่น: เห็ดหอม เห็ดเป๋าฮื้อ 3. เห็ดที่ควรหลีกเลี่ยงหรือทานให้น้อยที่สุด (โพแทสเซียมสูง) เช่น:

Health-articles

EP.92 – สายบัว โรคไตระยะ 1 – 5 ทานได้หรือไม่

สายบัวสำหรับผู้ป่วยไต ทุกระยะของโรคไต: สามารถทานได้ เนื่องจากสายบัวมีโพแทสเซียมต่ำมาก (4 มก. ต่อ 100 กรัม) ข้อยกเว้น: ผู้ป่วยระยะ 3b, 4, และ 5 ที่มีอาการบวมหรือปัสสาวะน้อย ควรหลีกเลี่ยง เพราะสายบัวมีน้ำสูง (97 กรัมต่อ

Health-articles

EP.91 – หน่อไม้ โรคไตระยะ 1 – 5 ทานได้หรือไม่

ผู้ป่วยไตระยะ 1, 2, และ 3a: สามารถทานหน่อไม้ได้ในปริมาณที่พอเหมาะ ผู้ป่วยไตระยะ 3b, 4, และ 5: ควรหลีกเลี่ยงการทานหน่อไม้ เนื่องจากการทำงานของไตลดลง ส่งผลให้ไม่สามารถกำจัดกรดยูริคได้ดี ซึ่งอาจทำให้กรดยูริคสะสมในร่างกายจนเกิดโรคเก๊าท์และทำให้ไตเสื่อมเร็วขึ้น หน่อไม้ดอง: ควรหลีกเลี่ยงเช่นกัน เพราะมีโซเดียมสูง ซึ่งอาจทำให้ความดันสูงขึ้นและไตทำงานหนักขึ้น พร้อมกับอาการบวมตามมาได้

Health-articles

EP.89 – รากบัวไตระยะ 3 – 5 ทานได้หรือไม่

โพแทสเซียมในรากบัว: รากบัวมีโพแทสเซียมค่อนข้างสูง (ประมาณ 550-600 มิลลิกรัม ต่อ 100 กรัม) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยโรคไตหากระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงอยู่แล้ว โดยเฉพาะหากระดับโพแทสเซียมเกิน 5.2 mEq/L ควรหลีกเลี่ยงการทานรากบัว คำแนะนำในการทาน: หากโพแทสเซียมในเลือดต่ำหรืออยู่ในระดับปกติ สามารถทานรากบัวได้ในปริมาณเล็กน้อย โดยสามารถลดโพแทสเซียมในรากบัวได้ด้วยการต้มและเทน้ำทิ้ง 3-4 ครั้ง หากโพแทสเซียมในเลือดสูง

Health-articles

EP.88 – ผักผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตทานได้ ปลอดภัยด้วย

โพแทสเซียม หากสูงเกินไปจะทำให้เกิดปัญหาในการเต้นของหัวใจ และอาจนำไปสู่ หัวใจล้มเหลว ผู้ป่วยโรคไตควรเลือกทานผักและผลไม้ที่มีโพแทสเซียมในระดับ ปานกลางถึงต่ำ เพื่อความปลอดภัย ผักที่แนะนำ: ผักที่มีโพแทสเซียมปานกลางถึงต่ำ เช่น ผักกาดขาว, กะหล่ำปลี, มะระ, แตงกวา, หัวไชเท้า, ผักบุ้ง, พริกหวาน วิธีการลดโพแทสเซียม: ควรนำผักไป ต้มลวก

Health-articles

EP.87 – คุมอาหารโรคไตต่อเนื่องน้ำหนักลด แก้ไขอย่างไรดี

สาเหตุที่น้ำหนักลด การควบคุมอาหารอย่างเข้มงวดในผู้ป่วยโรคไต (จำกัดแป้ง, เนื้อสัตว์, ผัก, ผลไม้) อาจทำให้ได้รับพลังงานไม่เพียงพอ จึงทำให้น้ำหนักลดลงและรู้สึกอ่อนเพลีย วิธีเพิ่มพลังงาน เพิ่มแป้งปลอดโปรตีน: แป้งบางประเภทเช่น สาคู หรือ วุ้นเส้น (ต้องสุก) สามารถเพิ่มพลังงานโดยไม่เพิ่มโปรตีนที่จำกัดในผู้ป่วยโรคไต เพิ่มน้ำตาล: น้ำตาลทรายแดง, น้ำตาลมะพร้าว หรือ

Health-articles

EP.86 – เป็นโรคไตระยะ 1 – 5 สามารถดื่มนมวัวได้หรือไม่

การดื่มนมวัวสำหรับผู้ป่วยโรคไต นมวัวมีฟอสฟอรัสสูง ซึ่งอาจทำให้ระดับแคลเซียมในกระดูกลดลง และอาจเกิดปัญหากระดูกเปราะบาง หรือเสี่ยงต่อโรคหัวใจเนื่องจากฟอสฟอรัสจับกับแคลเซียมในหลอดเลือด ปริมาณฟอสฟอรัสใน นมวัว 1 แก้ว (200 มล.) สูงถึง 160 มิลลิกรัม ซึ่งสูงมากเมื่อเทียบกับความต้องการของผู้ป่วยโรคไตที่ไม่ควรได้รับฟอสฟอรัสเกิน 800 มิลลิกรัม ต่อวัน คำแนะนำการดื่มนมวัว โรคไตระยะ

Health-articles

EP.85 – ปลา 5 ชนิด โรคไตควรเลือกทาน

ปลานิล: โปรตีนสูง, ไขมันต่ำ, โซเดียมต่ำ ช่วยดูแลกล้ามเนื้อและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ย่อยง่ายและช่วยให้หลับดีขึ้น ปลาทับทิม: อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมก้า 3 ช่วยดูแลหัวใจและระบบหลอดเลือด ปลาทูสด: โปรตีนสูง, โอเมก้า 3 ดีต่อสมองและหัวใจ ปลาเก๋า (กะพงขาว): โปรตีนสูง, ย่อยง่าย, ไขมันต่ำ