Health-articles

Health-articles

EP.13 – ผัก ผลไม้ ที่ผู้ป่วยไตทานได้ปลอดภัย และเคล็ดลับดูแลไตฟื้นฟูไตอย่างได้ผล

ผักผลไม้ที่ผู้ป่วยไตสามารถทานได้อย่างปลอดภัย: สาเหตุของโรคไต:โรคไตเกิดจากการทานอาหารไม่เหมาะสมหรือการใช้ยาต่อเนื่อง เช่น ยารักษาความดันและเบาหวาน ซึ่งอาจทำให้ไตทำงานหนักและเสื่อมสภาพในระยะยาว…………………………………………………………………….. การควบคุมอาหารในผู้ป่วยไต:การควบคุมโพแทสเซียมในอาหารเป็นสิ่งสำคัญ เพราะโพแทสเซียมที่มากเกินไปจะทำให้ไตทำงานหนัก…………………………………………………………………….. กลุ่มผักผลไม้ตามระดับโพแทสเซียม: โพแทสเซียมต่ำ (ปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยไต): องุ่นเขียว, ชมพู่, ลูกแพ โพแทสเซียมปานกลาง (ทานได้บ้าง): มะเขือยาว, มะละกอดิบ, ฝรั่ง, ลิ้นจี่, แคนตาลูป […]

Health-articles

EP.12 – เคล็ดลับ ช่วยผู้ป่วยไตที่น้ำหนักลด เพราะควบคุมอาหาร พร้อมตัวช่วย

การควบคุมอาหาร สำหรับผู้ป่วยไตที่มีน้ำหนักลด โดยเน้นการเพิ่มพลังงาน และการเลือกอาหารอย่างเหมาะสม:……………………………………………………………………..การควบคุมอาหาร:ต้องจำกัดโปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, ผักผลไม้ และควบคุมปริมาณการทาน การควบคุมอาหารอย่างเคร่งครัดช่วยให้ร่างกายได้รับพลังงานที่ต้องการ……………………………………………………………………..แนะนำตัวช่วยเพิ่มพลังงาน:น้ำมัน: เช่น น้ำมันข้าว, น้ำมันมะกอก, น้ำมันคาโนล่า (ไม่ควรใช้ความร้อนกับน้ำมันมะกอก)น้ำตาล: ใช้น้ำตาลทรายขาว, น้ำตาลมะพร้าว, น้ำตาลโตนด (ไม่แนะนำหญ้าหวาน)แป้ง: เช่น เส้นวุ้นเส้น, สาคู, แป้งมัน, แป้งข้าวโพด (ช่วยเพิ่มพลังงาน)……………………………………………………………………..แนะนำการทานข้าวและแป้ง:ผู้ป่วยไตควรทานข้าวมื้อละ

Health-articles

EP.11 – ผัก ผลไม้ ที่ผู้ป่วยไตทานได้ และเคล็ดลับการทานให้ปลอดภัย

ผักผลไม้ที่ผู้ป่วยไตทานได้……………………………………………………………………..โดยควรเลือกผักผลไม้ ที่มีโพแทสเซียมต่ำถึงปานกลาง เพื่อควบคุมระดับโพแทสเซียมในเลือดให้เหมาะสม ลดความเสี่ยงต่อหัวใจและอาการบวม……………………………………………………………………..ผักที่แนะนำ:ถั่วงอก, ผักบุ้งจีน, มะเขือเปราะ, แตงกวา, กะหล่ำปลี, ถั่วฝักยาว ฯลฯ……………………………………………………………………..วิธีเตรียมผัก:ลวก ต้ม หรือหั่นและเทน้ำทิ้ง เพื่อลดโพแทสเซียมได้ถึง 30-40%……………………………………………………………………..ผลไม้ที่แนะนำ:โพแทสเซียมปานกลาง: เช่น สับปะรด 8 ชิ้น, แอปเปิ้ลเขียวครึ่งผลโพแทสเซียมต่ำ: เช่น

Health-articles

EP.10 – ไข่ขาว น้ำข้าว สูตรลับฟื้นฟูไตเสื่อม สูตรนี้ดีจริงหรือ?

โดยน้ำข้าวผสมไข่ขาว มีประโยชน์ต่อร่างกายแต่ในด้านการรักษาโรคนั้นไม่สามารถทำได้ ในกรณีที่คนไข้บางกลุ่มมีภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (albumin) ซึ่งแพทย์ก็แนะนำให้รับประทานไข่ขาวเพื่อทดแทนโปรตีนที่เสียไป……………………………………………………………………..ในคนไข้ที่มีภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะ สังเกตุได้คือ ปัสสาวะจะมีฟองปนค่อนข้างมาก ลักษณะคล้ายฟองเบียร์ นอกจากนี้ยังมีภาวะบวมตามร่างกาย เนื่องจาก albumin มีหน้าที่ช่วยควบคุมปริมาณเลือดลดลง สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะดังกล่าว ควรไปพบแพทย์หาสาเหตุ ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้……………………………………………………………………..เพราะไตอักเสบที่ไม่ได้รับการรักษา ไตจะเสื่อมลง นำไปสู่ภาวะไตวายได้ https://youtu.be/uZpMVdmIwvE อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล

Health-articles

EP.9 – สิ่งควรทำ..เมื่อคุณหมอบอกว่าเป็นโรคไตเสื่อมเรื้อรัง

1. ตั้งสติ ปรึกษาคุณหมอ2. หาคนดูแลใกล้ชิด และเตรียมเบอร์โทรฉุกเฉิน3. ควบคุมอาหาร เลือกชนิดอาหาร https://youtu.be/7baeMBGbV9A อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล ความทันสมัยของคนยุคใหม่ สะดวก ทานง่าย อร่อย ดูดซึมใน 3-15 นาที เทคโนโลยีขั้นสูงสุดของโลก เจ้าแรกและเจ้าเดียวที่พิสูจน์แล้ว สอบถาม

Health-articles

EP.8 – ดูค่าเลือดโรคไตยัง? – ค่าครีเอตินินบอกอะไรเรา

“ค่าครีเอตินีน”……………………………………………………………………..ซึ่งเป็นค่าที่บ่งบอกการทำงานของไต โดยค่านี้จะไม่ถูกกระทบจากอาหารหรือการทำงานของตับ และจะถูกกำจัดออกจากร่างกายทางไตเท่านั้น ในผู้ป่วยโรคไต ค่าเหล่านี้จะสูงขึ้นเพราะไตไม่สามารถกำจัดครีเอตินีนได้หมด หากค่าเหล่านี้สูงเกินไปอาจต้องฟอกไต และเพื่อช่วยลดค่า ครีเอตินีน ควรลดการทานเนื้อสัตว์สีแดง เช่น เนื้อหมูและเนื้อวัว และหันมาทานเนื้อขาว เช่น ปลาและไก่แทนค่ะ https://youtu.be/tICDIrF54Xk อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล ความทันสมัยของคนยุคใหม่ สะดวก ทานง่าย อร่อย

Health-articles

EP.7 – รู้หรือไม่โซเดียมไม่ได้มีอยู่แค่ในอาหาร รสเค็ม!!

พูดถึงโซเดียม……………………………………………………………………..ซึ่งไม่ได้มีแค่ในอาหารรสเค็มเท่านั้น แต่ยังพบได้ในอาหารหลายๆ ชนิด เช่น ขนมเบเกอรี่ที่ใช้ผงฟู โซเดียมไบคาร์บอเนต อาจเป็นส่วนประกอบทำให้ไตทำงานหนักขึ้น หากรับประทานมากเกินไป ผู้ป่วยโรคไตควรระวังและควบคุมการรับประทานโซเดียมจากแหล่งต่างๆ เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นค่ะ https://youtu.be/xdcGk7G_UkQ อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล ความทันสมัยของคนยุคใหม่ สะดวก ทานง่าย อร่อย ดูดซึมใน 3-15 นาที

Health-articles

EP.6 – โปรตีนส่งผลต่อการทำงานของไตอย่างไร?

โปรตีนเป็นสารอาหารที่สำคัญในการเสริมสร้างกล้ามเนื้อและภูมิต้านทาน แต่ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง การรับประทานโปรตีนมากเกินไปอาจทำให้ไตเสื่อมเร็วขึ้น เนื่องจากการย่อยโปรตีนสร้างสารยูเรียที่สะสมในร่างกายเมื่อไตไม่สามารถขับออกได้ ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการผิดปกติ อาการทางสมอง เช่น ซึม ชัก อ่อนเพลีย และอักเสบของเยื่อหุ้มปอดและหัวใจ……………………………………………………………………..ในผู้ป่วยที่มีไตวายควรควบคุมการบริโภคโปรตีน โดยรับโปรตีนให้น้อยกว่าคนทั่วไป แต่สำหรับ ผู้ที่ฟอกไต ควรบริโภคโปรตีนมากกว่าคนปกติ การเลือกโปรตีนคุณภาพดีจากเนื้อสัตว์ไม่ติดมันและไข่ขาวช่วยให้ร่างกายได้รับกรดอะมิโนที่จำเป็น https://youtu.be/UvSDd-bnntA อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล ความทันสมัยของคนยุคใหม่

Health-articles

EP.5 – ดูค่าเลือดโรคไตยังไง? – ค่า BUN บอกอะไรเรา

การตรวจเลือดเพื่อประเมินการทำงานของไต โดยการวัดระดับไนโตรเจนจากยูเรีย ซึ่งเป็นของเสียที่ร่างกายสร้างขึ้นจากการย่อยโปรตีน หากไตทำงานผิดปกติ จะมีการคั่งของไนโตรเจนในเลือดมากขึ้น ซึ่งค่าปกติของ BUN ในผู้ใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 10-20 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร……………………………………………………………………..บ่งบอกถึงการทำงานผิดปกติของไต หรือการรับประทานโปรตีนมากเกินไป ขาดน้ำ ขณะที่ค่าบียูเอ็นต่ำอาจบ่งชี้ถึงภาวะขาดสารอาหาร, การดูดซึมผิดปกติ, หรือปัญหาตับ  https://www.youtube.com/watch?v=ki6EOGu_zlo อยากดูแลไต ขอแนะนำ! ตัวช่วยในการดูแลฟื้นฟูไตClick https://www.24gel.com/kidneycareอาหารเสริมเจล ความทันสมัยของคนยุคใหม่ สะดวก

Health-articles

EP.4 – ทำยังไงดี? เมื่อหมอแจ้งว่าเป็นโรคไต

การดูแลสุขภาพไต สำคัญสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าไตเริ่มทำงานน้อยลง โดยมีหลักการสำคัญในการชะลอการเสื่อมของไต ได้แก่:……………………………………………………………………..ควบคุมความดันโลหิต ให้ได้ที่ 130/80 มิลลิเมตรปรอทหรือต่ำกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท……………………………………………………………………..ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวาน ไม่เกิน 110 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร……………………………………………………………………..ควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงอาหารเค็มและไขมันสูง……………………………………………………………………..งดสูบบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่ทำให้ไตเสื่อมสภาพเร็วขึ้น……………………………………………………………………..ระมัดระวังการใช้ยา โดยหลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่อาจทำให้ไตเสื่อม เช่น ยาแก้ปวดและสมุนไพรที่มีโพแทสเซียมสูง……………………………………………………………………..รักษาสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย เช่น การเดินหรือว่ายน้ำ